วันอาทิตย์ที่ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2555

แบบฝึกหัด ฟิสิกสอะตอม


แบบฝึกหัด
1. . ถ้าผลการทดลองเกี่ยวกับปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กตริก เขียนกราฟระหว่างศักย์หยุดยั้งกับความถี่ของแสง ดังรูป ค่านิจของแพลงค์คำนวณจากกราฟส้นนี้จะมีค่าเท่าไร

ส่วนบนของฟอร์ม
1) 5.3 x 10-34
2) 5.7 x 10-34 
3) 6.0 x 10-34 
4) 6.4 x 10-34

ส่วนล่างของฟอร์ม
ส่วนบนของฟอร์ม
ส่วนล่างของฟอร์ม

2. เมื่ออนุภาคแอลฟาวิ่งเข้าสู่นิวเคลียสของอะตอม อนุภาคแอลฟานั้นจะหยุดนิ่งก็ต่อเมื่ออนุภาคนั้น

ส่วนบนของฟอร์ม
1) มีพลังงานรวมเป็นศูนย์
2) กระทบผิวนิวเคลียส
3) กระทบกับอิเล็กตรอนในขั้นใดขั้นหนึ่ง
4) มีพลังงานศักย์เท่ากับพลังงานจลน์เดิม

ส่วนล่างของฟอร์ม
ส่วนบนของฟอร์ม
ส่วนล่างของฟอร์ม

3. จากทฤษฎีของ เดอ บรอยล์ เส้นรอบวงของวงโคจรของอิเล็กตรอนรอบนิวเคลียส มีค่าเป็นเท่าใด

ส่วนบนของฟอร์ม
1) ค่านิจของแพลงค์หารด้วยความยาวคลื่นของอิเล็กตรอน
2)  ค่านิจของแพลงค์คูณด้วยเลขจำนวนเต็ม หารด้วย 2p 
3)  ความยาวคลื่นของอิเล็กตรอนคูณด้วยเลขจำนวนเต็ม
4)  ความยาวคลื่นของอิเล็กตรอนหารด้วยความเร็วของแสง 
ส่วนล่างของฟอร์ม
ส่วนบนของฟอร์ม
ส่วนล่างของฟอร์ม


4. ไฮโดรเจนที่สถานะพื้นฐาน (ground state) ดูดกลืนโฟตอนซึ่งมีพลังงาน 20 eV แล้วแตกตัวเป็นอิออน อิเล็กตรอนที่หลุดออกมามีพลังงานจลน์เป็นเท่าใด

ส่วนบนของฟอร์ม
1)  0 eV
2)  6.4 eV
3)  13.6 eV
4)  20 eV

ส่วนล่างของฟอร์ม
ส่วนบนของฟอร์ม
ส่วนล่างของฟอร์ม

5. เมื่ออิเล็กตรอนของไฮโดรเจนเปลี่ยนจากระดับพลังงาน n= 4 เป็นระดับพลังงาน n= 2 จะให้แสงสีน้ำเงิน ถ้าอิเล็กตรอนเปลี่ยนระดับพลังงานจาก n = 5 ไปยัง n = 2 จะให้แสงสีใด

ส่วนบนของฟอร์ม
1)ม่วง
2) เขียว
3) เหลือง
4) แดง
ส่วนล่างของฟอร์ม
ส่วนบนของฟอร์ม
ส่วนล่างของฟอร์ม

6. ในการทดลองหยดน้ำมันของมิลลิแกน พบว่าถ้าต้องการให้หยดน้ำมันซึ่งมีมวล m และมีอิเล็กตรอนเกาะติดอยู่ n ตัว ลอยนิ่งอยู่ระหว่างแผ่นโลหะ 2 แผ่น ซึ่งวางขนานห่างกันเป็นระยะทาง d และมีความต่างศักย์ V ประจุของอิเล็กตรอนที่คำนวณได้จากการทดลองนี้จะมีค่าเท่าใด

ส่วนบนของฟอร์ม
1)  mgd/mv
2)  mgv/nd
3)  nmgd/v
4)  nmgv/d


ส่วนล่างของฟอร์ม
ส่วนบนของฟอร์ม
ส่วนล่างของฟอร์ม

7. ในปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กตริก ถ้าให้แสงที่มีความถี่ 8 x 1014 เฮิร์ตซ์ ตกกระทบโลหะชนิดหนึ่งปรากฏว่าต้องใช้ความต่างศักย์ในการหยุดยั้งโฟโตอิเล็กตรอนที่หลุดออกมาเท่ากับ 1.3 โวลต์ พลังงานยึดเหนี่ยวของโลหะที่ใช้ในการทดลองนี้มีค่าเท่าใด

ส่วนบนของฟอร์ม
1)  0 eV
2)  2.0 eV
3)  2.5 eV
4)  4.3 eV
ส่วนล่างของฟอร์ม
ส่วนบนของฟอร์ม
ส่วนล่างของฟอร์ม

8.จากโครงสร้างของอะตอม ไฮโดรเจนตามทฤษฎีของบอร์อิเล็กตรอนที่อยู่ในวงโคจรที่ 3 จะมีรัศมีของวงโคจรเป็นกี่เท่าของอิเล็กตรอนที่อยู่ในวงโคจรวงที่ 2

ส่วนบนของฟอร์ม
1) 4/9
2) 2/3
3) 3/2
4) 9/4
9. ในการทดลองของฟรังค์และเฮิร์ตซ์ ถ้าเราใช้หลอดที่บรรจุไฮโดรเจนแทนหลอดที่บรรจุไอปรอท จะต้องใช้ศักย์ไฟฟ้าอย่างน้อยที่สุดเท่าใดในการเร่งอิเล็กตรอนเพื่อให้เกิดการชนแบบไม่ยืดหยุ่นกับอะตอมไฮโดรเจน (กำหนดให้ระดับพลังงานในหน่วย eV ของอิเล็กตรอนในอะตอมไฮโดรเจนเรียงจากวงในสุดเป็น –13.59, 3.40, 1.51….., 0 ตามลำดับ)

ส่วนบนของฟอร์ม
1) 0.54 V
2)  0.85 V
3)  1.51 V
4)  10.19 V

10. หลักความไม่แน่นอนของไฮเซนเบอร์ก กล่าวว่า ผลคูณระหว่างความไม่แน่นอนทางตำแหน่งกับความไม่แน่นอนทางโมเมนตัม จะมีค่าอย่างไร

ส่วนบนของฟอร์ม
1) น้อยกว่าค่านิจของแพลงค์
2) เท่ากับค่านิจของแพลงค์
3) มากกว่าค่านิจของแพลงค์
4) น้อยกว่าหรือเท่ากับค่านิจของแพลงค์




ที่มา http://www.rmutphysics.com/charud/scibook/atomicphysics/atomchoice/18-6.html


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น