::. ความหนาแน่น .::
ความหนาแน่นมวล( mass density ) (ใช้สัญลักษณ์อ่านว่า "โรห์ (rho)" )
ซึ่งหาได้จากอัตราส่วนระหว่างค่ามวล(m)ต่อหน่วยปริมาตร(V)
สูตรความสัมพันธ์
ความหนาแน่น
มีหน่วย กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร (kg/m³)
ความหนาแน่นสัมพัทธ์(ความถ่วงจำเพาะ) คือ อัตราส่วนระหว่างความหนาแน่นของสารนั้นกับความหนาแน่นของน้ำที่อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส ซึ่งมีค่าเป็น 1000 kg/m³
ตัวอย่าง
1. นักสำรวจเดินทางด้วยบอลลูนบรรจุแก๊สฮีเลียมที่มีปริมาตร 400 ลูกบาศก์เมตร และมวล 65 กิโลกรัม ขณะนั้นแก๊สฮีเลียมในบอลลูนมีความหนาแน่นเท่าใด
1. นักสำรวจเดินทางด้วยบอลลูนบรรจุแก๊สฮีเลียมที่มีปริมาตร 400 ลูกบาศก์เมตร และมวล 65 กิโลกรัม ขณะนั้นแก๊สฮีเลียมในบอลลูนมีความหนาแน่นเท่าใด
::. ความดันในของเหลว .::
ความดันของของไหล คือ
อัตราส่วนของแรงที่กระทำต่อวัตถุต่อหน่วยพื้นที่ที่สัมผัสกับของไหล
สูตรความสัมพันธ์
เมื่อ P คือ ความดัน
มีหน่วยเป็น N/m2 หรือพาสคัล (pascal:Pa)
F คือ แรงที่ของเหลวกระทำต่อวัตถุ (นิวตัน)
F คือ แรงที่ของเหลวกระทำต่อวัตถุ (นิวตัน)
A คือ พื้นที่(ตารางเมตร) และเป็นพื้นที่ราบ (Flat area)
ความดันในของเหลวจะแปรผันตรงกับความลึกและความหนาแน่นของของเหลว
หากพิจารณาของเหลวที่มีความหนาแน่นอยู่นิ่งในภาชนะเปิดสู่บรรยากาศ
W เป็นน้ำหนักของของเหลวบนพื้นที่ A (หน้าตัดของทรงกระบอก)
ดังนั้น
ให้ความดันบรรยากาศ คือ เนื่องจากของเหลวอยู่ในสมดุล หรือ
ดังนั้นที่ก้นแก้ว
จะได้
คือ
ความดันที่ผิวของเหลวเท่ากับความดันบรรยากาศ
สูตรความดันสัมบูรณ์
เมื่อ คือ
ผลรวมของความดันบรรยากาศกับความดันเกจ
เรียกว่า "ความดันสัมบูรณ์" (Absolute pressure)
เรียกว่า "ความดันสัมบูรณ์" (Absolute pressure)
เป็นความดันเนื่องจากน้ำหนักของของเหลวที่ระดับความลึก h เรียกว่า " ความดันเกจ "
โดยรูปทรงของภาชนะไม่มีผลต่อความดัน
แรงดันน้ำเหนือเขื่อน
จากรูป
แรงดันของน้ำเหนือเขื่อน คำนวณได้จาก
เมื่อ F คือ แรงดันเฉลี่ยของน้ำที่กระทำกับเขื่อน
คือ ความหนาแน่นของน้ำ
h
คือ
ความสูงของระดับน้ำ
หลอดแก้วรูปตัวยู
ของเหลวสองชนิดมีความหนาแน่น และ ไม่ผสมกันและไม่ทำปฏิกิริยากัน
ใส่เข้าไปในหลอดแก้วรูปตัวยู ดังรูปขาทั้งสองข้างจะเท่ากันหรือไม่ก็ตาม แต่ปลายทั้งสองต้องเปิดสู่อากาศเดียวกัน
จะได้
เครื่องมือวัดความดันของของไหล
แมนอมิเตอร์
แมนอมิเตอร์ เป็นเครื่องมือวัดความดันของของไหลที่มีลักษณะดังรูป ส่วนสำคัญคือ หลอดรูปตัวยูมีของเหลวซึ่งมีความหนาแน่น บรรจุอยู่ คำนวณความดันได้จาก
เมื่อ P คือ ความดันแก๊สในถัง
gd คือ ความดันเกจของของเหลวสูง d
บารอมิเตอร์
บารอมิเตอร์
เป็นเครื่องมือวัดความดันประเภทหนึ่งที่ใช้หลอดยาวปลายข้างหนึ่งปิด
และปลายข้างที่เปิด
คว่ำลงในอ่างปรอท ความดัน 1 บรรยากาศ เป็นความดันเนื่องจากน้ำหนักของลำปรอทที่สูง 760 มิลลิเมตร คำนวณความดันบรรยากาศได้จาก
คว่ำลงในอ่างปรอท ความดัน 1 บรรยากาศ เป็นความดันเนื่องจากน้ำหนักของลำปรอทที่สูง 760 มิลลิเมตร คำนวณความดันบรรยากาศได้จาก
ตัวอย่าง
1. ความดันสัมบูรณ์ (Absolute pressure) ใต้ผิวน้ำแห่งหนึ่งมีค่า 2.0 x 106 N/m2 และขณะนั้นความดันบรรยากาศเท่ากับความดันน้ำสูง 10.2 m ณ ตำแหน่งนั้นอยู่ลึกจากผิวน้ำเท่าไร กำหนดความหนาแน่นน้ำ 103 kg/m3
2. หลอดแก้วตัวยูมีพื้นที่หน้าตัดของปลายทั้งสองไม่เท่ากัน ปลายข้างหนึ่งมีพื้นที่หน้าตัดเป็น 2 เท่าของอีกข้างหนึ่ง เมท่อเติมน้ำลงไปในหลอดระดับน้ำเท่ากัน ถ้าเติมน้ำมันความหนาแน่น 800 kg/m3 ในหลอดข้างเล็กสูง 10 cm ความหนาแน่นน้ำ 103 kg/m3 ระดับของของเหลวที่ปลายทั้งสองต่างกันเท่าใด
::. กฎของพาสคัลและเครื่องอัดไฮดรอลิก .::
พาสคัล ได้ค้นพบว่า
การเปลี่ยนแปลงความดันที่กระทำต่อของไหลในภาชนะปิดจะมีการส่งผ่านแรงทั้งหมดไปยังทุกจุดของของไหลและผนังของภาชนะ ด้วยหลักการนี้ทำให้เกิดการประยุกต์ใช้เครื่องผ่อนแรงที่เรียกว่า
"เครื่องอัดไฮดรอลิก" ซึ่งประกอบด้วยกระบอกสูบและลูกสูบสองชุดที่มีขนาดต่างกัน
ดังรูป
ตัวอย่าง
1. ลูกสูบใหญ่ของแม่แรงยกรถยนต์เครื่องหนึ่งมีพื้นที่เป็น 1000 เท่าของลูกสูบเล็ก ถ้าต้องการยก
รถมวล 1200 กิโลกรัม จะต้องออกแรงกดที่ลูกสูบเล็กเท่าใด
::. แรงลอยตัวและหลักของอาร์คิมีดิส .::
หลักเกี่ยวกับแรงลอยตัวของวัตถุซึ่งอยู่ในของเหลวกล่าวว่า
“แรงลอยตัวจะมีค่าเท่ากับน้ำหนักของของเหลวซึ่งมีปริมาตรเท่าวัตถุส่วนที่จม”
มีค่าดัง สมการ
FB = gV
เมื่อ FB คือ แรงลอยตัว (บางครั้งใช้สัญลักษณ์ B )
คือ ความหนาแน่นของของเหลว
g คือ ค่าความเร่งโน้มถ่วงของโลก
เมื่อพิจารณาแรง F ที่ดึงให้เกิดระยะเคลื่อนที่ทำให้ผิวของเหลวมีพื้นที่มากขึ้น งานที่ใช้ในการเพิ่มพื้นที่ผิวหาได้ดังนี้
นั่นคือ
เมื่อ คือ พื้นที่ผิวที่เพิ่มขึ้น ความตึงผิวนี้ มีหน่วย จูลต่อตารางเมตร ( J/ m³ )
ตัวอย่าง
1.แผ่นโละบางมากรูปวงกลมมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 7 เซนติเมตร นำไปลอยอยู่บนผิวน้ำ ถ้าการที่แผ่นโลหะนี้สามารถลอยน้ำอยู่ได้เป็นผลมาจากแรงตึงผิวเพียงอย่างเดียว จงหาว่าโลหะแผ่นนี้มีมวลอย่างมากที่สุดเท่าใด กำหนดให้ความตึงผิวของน้ำมีค่า 0.072 N/m
::. ความหนืด .::
- ไม่สามารถอัดได้ หมายความว่าของไหลมีปริมาตรคงตัวมีความหนาแน่นเท่าเดิมตลอด
ให้ คือ พื้นที่หน้าตัดของท่อที่ของไหลไหลเข้า
คือ พื้นที่หน้าตัดของท่อที่ของไหลไหลออก
จากรูป เมื่อของไหลอุดมคติไหลอย่างสม่ำเสมอผ่านหลอดที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางไม่เท่ากัน
ปริมาตรที่ไหลผ่านพื้นที่ตัดขวาง ในเวลา จะเท่ากับปริมาตรของของไหลที่ผ่านพื้นที่หน้าตัด ในเวลา ที่เท่ากัน
มวลของไหลที่ผ่านพื้นที่ คือ
มวลของไหลที่ผ่านพื้นที่ คือ
คณะผู้จัดทำ
นางสาวมัทนียา หามะ เลขที่ 24
นางสาวธัญวรัตม์ นาตเพ็ชรพูล เลขที่ 25
นางสาวกาญจนวรรณ เทียนทอง เลขที่ 26
นางสาวอาทิมา ชูวิจิตร เลขที่ 28
V คือ ปริมาตรวัตถุส่วนที่จมในของเหลว
ตัวอย่าง
::. ความตึงผิว .::
แรงระหว่างโมเลกุลของของเหลวที่ดึงกันไว้ทำให้ผิวของเหลวราบเรียบและตึงเรียกว่า "แรงดึงผิว"
แรงดึงผิวนี้จะมีทิศขนานกับผิวของเหลวและตั้งฉากกับขอบที่ของเหลวสัมผัส ดังรูป
ความตึงผิว ( surface tension:อ่านว่า แกมมา ) เป็นสมบัติเฉพาะตัวของของเหลว คำนวณได้จาก
เมื่อ F คือ ขนาดของแรงดึงผิว (นิวตัน)
L คือ ความยาวของผิวสัมผัส(เมตร)
ความตึงผิวของของเหลวมีหน่วย
นิวตันต่อเมตร (N/m)
เมื่อพิจารณาแรง F ที่ดึงให้เกิดระยะเคลื่อนที่ทำให้ผิวของเหลวมีพื้นที่มากขึ้น งานที่ใช้ในการเพิ่มพื้นที่ผิวหาได้ดังนี้
นั่นคือ
ความตึงผิวของของเหลวแต่ละชนิดที่อุณหภูมิเดียวกันมีค่าไม่เท่ากัน
สำหรับของเหลวชนิดหนึ่งความตึงผิวจะเปลี่ยนไปเมื่อของเหลวมีสารเจือ เช่น
น้ำเกลือหรือน้ำสบู่จะมีความตึงผิวน้อยกว่าน้ำ
และความตึงผิวจะลดลงเมื่ออุณหภูมิของของเหลว
เพิ่มขึ้น
เพิ่มขึ้น
ความโค้งของผิวของเหลว
ของเหลวในภาชนะจะมีผิวลักษณะโค้งนูนหรือโค้งเว้า ขึ้นกับแรงระหว่างแรงเชื่อมแน่น(cohesive
force)ที่เกิดขึ้นระหว่างโมลุกุลชนิดเดียวกัน กับแรงยึดติด(adhesive)ที่เกิดขึ้นระหว่างโมเลกุลต่างชนิดกัน
ดังรูป
ตัวอย่าง
1.แผ่นโละบางมากรูปวงกลมมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 7 เซนติเมตร นำไปลอยอยู่บนผิวน้ำ ถ้าการที่แผ่นโลหะนี้สามารถลอยน้ำอยู่ได้เป็นผลมาจากแรงตึงผิวเพียงอย่างเดียว จงหาว่าโลหะแผ่นนี้มีมวลอย่างมากที่สุดเท่าใด กำหนดให้ความตึงผิวของน้ำมีค่า 0.072 N/m
::. ความหนืด .::
ของไหลที่มีความหนืดมากจะมีแรงต้านการเคลื่อนที่อันเนื่องมาจากความหนืดของของไหล
เรียกว่า "แรงหนืด"
แรงหนืดที่กระทำต่อวัตถุขึ้นอยู่กับขนาดความเร็วของวัตถุและแรงนี้มีทิศตรงกันข้ามกับการเคลื่อนที่ของวัตถุ
แรงหนืดที่กระทำต่อวัตถุขึ้นอยู่กับขนาดความเร็วของวัตถุและแรงนี้มีทิศตรงกันข้ามกับการเคลื่อนที่ของวัตถุ
จอร์จ กาเบรียล
สโตกส์ ได้ทดลองหาแรงหนืดและพบว่า แรงหนืดแปรผันตรงกับความเร็วของวัตถุทรงกลมตัน ตามสมการ
เมื่อ F คือ แรงหนืดของของไหล (นิวตัน)
r คือ รัศมีของวัตถุทรงกลม (เมตร)
v คือ ความเร็วของวัตถุทรงกลม ( N/m2 )
v คือ ความเร็วของวัตถุทรงกลม
(อ่านว่า ETA) คือ ความหนืดของของไหล (นิวตันวินาที/ตารางเมตร หรือ พาสคัลวินาที)
ตัวอย่าง
1.ลูกกลมโลหะหนึ่งมีปริมาตร
V
ความหนาแน่น 2 r ถูกปล่อยให้เคลื่อนที่ลงในของเหลวชนิดหนึ่งที่มี
ความหนาแน่น r ขณะที่ลูกกลมโลหะมีความเร็วปลายคงตัว จงหาแรงหนืดในของเหลว (ความเร่งโน้มถ่วงโลกเท่ากับ g )
ความหนาแน่น r ขณะที่ลูกกลมโลหะมีความเร็วปลายคงตัว จงหาแรงหนืดในของเหลว (ความเร่งโน้มถ่วงโลกเท่ากับ g )
::. พลศาสตร์ของของไหล .::
ของไหลในอุดมคติ มีสมบัติดังนี้
- มีการไหลอย่างสม่ำเสมอ
หมายถึงความเร็วของทุกอนุภาค ณ ตำแหน่งต่างๆของของไหลมีค่าคงตัว
- มีการไหลโดยไม่หมุน
คืออนุภาคจะไม่เคลื่อนที่ด้วยความเร็วเชิงมุม
- มีการไหลโดยไม่มีแรงต้านเนื่องจากความหนืด
หมายถึงไม่มีแรงต้านใดๆในเนื้อของของไหล
- ไม่สามารถอัดได้ หมายความว่าของไหลมีปริมาตรคงตัวมีความหนาแน่นเท่าเดิมตลอด
สมการความต่อเนื่อง
ให้ คือ พื้นที่หน้าตัดของท่อที่ของไหลไหลเข้า
คือ พื้นที่หน้าตัดของท่อที่ของไหลไหลออก
ปริมาตรที่ไหลผ่านพื้นที่ตัดขวาง ในเวลา จะเท่ากับปริมาตรของของไหลที่ผ่านพื้นที่หน้าตัด ในเวลา ที่เท่ากัน
มวลของไหลที่ผ่านพื้นที่ คือ
มวลที่ไหลผ่านแต่ละส่วนมีค่าเท่ากัน จะได้
จะพบว่า Av = ค่าคงตัว
เราเรียกสมการนี้ว่า " สมการความต่อเนื่อง " ซึ่งสรุปได้ว่า
"ผลคูณระหว่างพื้นที่หน้าตัดกับอัตราเร็วของของไหลอุดมคติ ไม่ว่าจะอยู่ที่ตำแหน่งใดในหลอดจะมีค่าคงตัวเสมอ"
"ผลคูณระหว่างพื้นที่หน้าตัดกับอัตราเร็วของของไหลอุดมคติ ไม่ว่าจะอยู่ที่ตำแหน่งใดในหลอดจะมีค่าคงตัวเสมอ"
สมการของแบร์นูลลี
พิจารณาที่ท่อส่วนล่าง
งานที่กระทำโดยแรง
พลังงานศักย์
พลังงานจลน์
พิจารณาที่ท่อส่วนบน
งานที่กระทำโดยแรง (ทิศตรงข้าม)
พลังงานศักย์
พลังงานจลน์
งานจากแรงดัน = การเปลี่ยนพลังงานกล
จาก แทนค่าได้
นั่นคือ = ค่าคงตัว
สมการนี้เรียกว่า "สมการของแบร์นูลลี" ซึ่งกล่าวว่า
"ผลรวมของความดันพลังงานจลน์ต่อหนึ่งหน่วยปริมาตร และพลังงานศักย์โน้มถ่วงต่อหนึ่งหน่วยปริมาตร ณ ตำแหน่งใดๆ ภายในท่อที่ของไหลผ่าน มีค่าคงตัว" ด้วยหลักการนี้จึงเกิดการประยุกต์ใช้ในการทำงานของเครื่องพ่นสี และการออกแบบปีกเครื่องบิน เป็นต้น
"ผลรวมของความดันพลังงานจลน์ต่อหนึ่งหน่วยปริมาตร และพลังงานศักย์โน้มถ่วงต่อหนึ่งหน่วยปริมาตร ณ ตำแหน่งใดๆ ภายในท่อที่ของไหลผ่าน มีค่าคงตัว" ด้วยหลักการนี้จึงเกิดการประยุกต์ใช้ในการทำงานของเครื่องพ่นสี และการออกแบบปีกเครื่องบิน เป็นต้น
ข้อมูลอ้างอิง
คณะผู้จัดทำ
นางสาวมัทนียา หามะ เลขที่ 24
นางสาวธัญวรัตม์ นาตเพ็ชรพูล เลขที่ 25
นางสาวกาญจนวรรณ เทียนทอง เลขที่ 26
นางสาวอาทิมา ชูวิจิตร เลขที่ 28
ขอบคุนค้าบพอดีลืมเอาชีทฟิสิกกลับบ้านพอดีเลย55เลยมาอ่านในนี้แทน55
ตอบลบWhat is a Baccarat (Rules & Variations) - Wilbur's
ตอบลบThe 메리트 카지노 주소 player 인카지노 takes the highest trick, The two players play a standard game called a 바카라 사이트 baccarat. The winner is determined by the number of tricks they have.